ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ศึกษาความสัมพันธ์ของการพัฒนาทุนมนุษย์, พัฒนาเศรษฐกิจและพัฒนาการศึกษาต่อการเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจ ในเขตพื้นที่ชุมชนเมืองบุรีรัมย์

Show simple item record

dc.contributor.author แก้วขวัญไกร, ทศพร
dc.contributor.author จันทารัมย์, จตุพร
dc.date.accessioned 2017-09-10T07:23:27Z
dc.date.available 2017-09-10T07:23:27Z
dc.date.issued 24-11-24
dc.identifier.citation ทศพร แก้วขวัญไกร และจตุพร จันทารัมย์. (2559). ศึกษาความสัมพันธ์ของการพัฒนาทุนมนุษย์, พัฒนาเศรษฐกิจและพัฒนาการศึกษาต่อการเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจ ในเขตพื้นที่ชุมชนเมืองบุรีรัมย์. วารสารวิจัยและพัฒนา, 11(พิเศษ). หน้า 98-106. en_US
dc.identifier.issn 19061641
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/1143
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อทดสอบสมมติฐาน ของความสัมพันธ์ของการพัฒนาทุนมนุษย์,การพัฒนาเศรษฐกิจ และการพัฒนาการศึกษาต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 2) เพื่อทราบแนวทางและข้อเสนอแนะของการพัฒนาทุนมนุษย์, การพัฒนาเศรษฐกิจและการพัฒนาการศึกษาต่อการเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจ ขอบเขตการวิจัยได้แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ขอบเขตด้านประชากรกับขอบเขตด้านเนื้อหา โดยขอบเขตการ ศึกษาด้านประชากร ทำการศึกษาปีการศึกษา 2557 ในพื้นที่ เทศบาลเมืองบุรีรัมย์ จำนวนชุมชน 18 ชุมชน ผู้วิจัยใช้วิธีการ สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) โดย ได้จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 530 คน ขอบเขตการศึกษาด้านเนื้อหา ใช้สถิติเชิงพรรณนาการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับข้อมูลส่วน บุคลและข้อมูลด้านสังคมของประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ทำการ ศึกษาโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (Standard Deviation) ส่วนการวิเคราะห์หาความ สัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเพื่อทดสอบสมมุติฐาน สถิติที่ใช้คือการ วิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis) ผลการวิจัย พบว่า 1. การวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรของการ พัฒนาทุนมนุษย์,การพัฒนาเศรษฐกิจและการพัฒนาการศึกษา ต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจมีความสัมพันธ์ตามสมมติฐาน ผลเครื่องหมายเป็นบวกซึ่งยอมรับได้ ณ ระดับนัยสำคัญ 0.05 บ่งบอกถึงความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน กล่าวคือ เมื่อมีการ พัฒนาทุนมนุษย์เพิ่มขึ้นทำให้การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ, การ พัฒนาเศรษฐกิจและการพัฒนาการศึกษาทำให้เพิ่มขึ้น 2. แนวทางการพัฒนาควรเพิ่มการพัฒนาทุนมนุษย์ของ คนในพื้นที่ชุมชนเมืองบุรีรัมย์ โดยเฉพาะองค์ความรู้ใหม่ให้ทัน ต่อสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของโลกปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม ในการพัฒนาเศรษฐกิจก็มิได้รับประกันการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจอย่างยั่งยืน ดังนั้น ควรเสริมความรู้ ความพอประมาณ และสร้างภูมิคุ้มกันเพื่อให้เกิดความสมดุลอย่างเหมาะสม en_US
dc.description.abstract This research aims 1) to test the hypothesis of a relationship of human capital development, economic development and education to economic growth 2) to know the guidelines and recommendations of the development of human capital, economic development and education on growth economic. The scope of the research is divided into two parts: the extent of the population to the extent the content. The scope of the study population the academic year 2557 in the Municipality of Buriram community sample of 530 people. The researchers used a multi-stage random sampling method, 18 Community scope of the content. Descriptive statistics were used to analyze data about personal and social aspects of the sample population studied using descriptive statistics (Descriptive Statistics) include percentage (Percentage) Average (Mean) and standard deviation (Standard Deviation) to analyze the relationship between variables to test the hypothesis. The statistics used regression analysis. 1. Analysis of the relationship between the variables of human capital development, economic development and education to economic growth are correlated based on the assumption of a positive sign recognizable at a significance level of 0.05 indicates a relationship. When the same direction, namely human capital development increased the economic growth, economic development and education make up. 2. The development of human capital development should increase of people in urban areas in Buriram. The new knowledge to keep pace with the changing circumstances of the world today. However, economic development is not a guarantee of sustained economic growth should strengthen knowledge. Modesty and immunization to achieve a proper balance. en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject พัฒนาทุนมนุษย์, พัฒนาเศรษฐกิจ, พัฒนาการศึกษา, การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ en_US
dc.subject Human capital, Economic development, Education development, Economic growth. en_US
dc.title ศึกษาความสัมพันธ์ของการพัฒนาทุนมนุษย์, พัฒนาเศรษฐกิจและพัฒนาการศึกษาต่อการเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจ ในเขตพื้นที่ชุมชนเมืองบุรีรัมย์ en_US
dc.title.alternative Study relationship of human capital, economic development and education Accumulation on the rate of economic growth in the area of urban Buriram. en_US
dc.type Article en_US
dc.journal.namejournal วารสารวิจัยและพัฒนา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics