ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ศึกษาอิทธิพลอัตราส่วนที่แตกต่างกันของการใช้ขยะอินทรีย์หมัก จากใบผักกาดที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโตและการให้ดอกเพื่อเพิ่มผลผลิตในการปลูกดาวเรืองพันธุ์ทองเฉลิม

Show simple item record

dc.contributor.advisor อาจารย์เลิศภูมิ จันทรเพ็ญกุล en_US
dc.contributor.author จริตรัมย์, สถาพร
dc.contributor.author มีเพ็ชร์, เอกราช
dc.contributor.author chanpenkun, lertpoom
dc.date.accessioned 2017-10-20T01:30:43Z
dc.date.available 2017-10-20T01:30:43Z
dc.date.issued 2559
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/3098
dc.description ปัญหาพิเศษ วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.)สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 2559 en_US
dc.description.abstract จากการศึกษาอิทธิพลอัตราส่วนที่แตกต่างกันของการใช้ขยะอินทรีย์หมักจากใบผักกาดที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโตและการให้ดอกเพื่อเพิ่มผลผลิตในการปลูกดาวเรืองพันธุ์ทองเฉลิม โดยใช้แผนการทดลองสุ่มในบล็อกสมบูรณ์ (Randomized Complete Block Design ; RCBD หรือ RBD) ประกอบด้วย 4 ทรีดเมนต์ 3 ซ้า T1 (CONTROL) ไม่ใส่ขยะอินทรีย์หมักจากใบผักกาด T2 อัตราส่วนผสม (ดิน 30% : ขยะอินทรีย์หมักจากใบผักกาด 70% ) T3 อัตราส่วนผสม (ดิน 50% :ขยะอินทรีย์หมักจากใบผักกาด 50% ) T4 อัตราส่วนผสม (ดิน 70% : ขยะอินทรีย์หมักจากใบผักกาด 30% ) ในอัตราส่วน 2 กิโลกรัม/ถุงเพาะชำ โดยศึกษาการเจริญเติบโตในด้านความสูงต้น ความกว้างใบ ความยาวใบ เส้นผ่าศูนย์กลางทรงพุ่ม ในทุกๆ 15 , 30 วัน และนับกิ่งแขนงใหม่อายุ 45 วัน และศึกษาในด้านการให้ผลผลิตด้านจำนวนการติดดอก เส้นผ่าศูนย์กลางดอกและน้ำหนักสดดอกดาวเรือง จำนวน 2 รุ่นในช่วง70และ 78 วัน สถานที่ปลูกดาวเรือง บ้านพักอาจารย์อารยา มุสิกา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.บุรีรัมย์ ตั งแต่วันที่ 20 พฤษภาคม – 24 สิงหาคม 2559 จากการทดลอง พบว่า ด้านการเจริญเติบโตของดาวเรืองแต่ละสิ่งทดลองไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในด้านความสูงของต้น ความกว้างใบ ความยาวใบ กิ่งแขนงและเส้นผ่าศูนย์กลางทรงพุ่มของดาวเรืองอายุ ณ 15 , 30และ 45 วัน พบว่า (T4) อัตราส่วนผสม (ดิน70% ,ขยะอินทรีย์หมักจากใบผักกาด 30% ) ส่งผลต่อด้านความสูงที่สุด ด้านการให้ผลผลิตของดอกดาวเรือง พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในด้านจ้านวนการติดดอก เส้นผ่าศูนย์กลางดอกและน้าหนักสดดอก ที่อายุ 70 และ 78 วัน พบว่า (T4) อัตราส่วนผสม (ดิน70% ,ขยะอินทรีย์หมักจากใบผักกาด 30% ) ให้ผลผลิตมากที่สุด รองลงมา คือ (T3) อัตราส่วนผสม (ดิน50% ,ขยะอินทรีย์หมักจากใบผักกาด 50% ) และT2 อัตราส่วนผสม (ดิน 30% ,ขยะอินทรีย์หมักจากใบผักกาด 70% ) ให้ผลผลิตไม่ต่างกันมากหนัก ส่วน (T1) ไม่ใส่ขยะอินทรีย์หมักจากใบผักกาด ให้ผลผลิตต่ำสุดในทุกด้าน en_US
dc.description.sponsorship Buriram Rajabhat University en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ผักกาด,ขยะอินทรีย์, ปุ๋ยหมักชีวภาพจากพืช, ดาวเรืองพันธุ์ทองเฉลิม F1, อัตราการเจริญเติบโต,Composting of organic waste ,lettuce leaves in different ratios, Growth Productivity Marigold en_US
dc.title ศึกษาอิทธิพลอัตราส่วนที่แตกต่างกันของการใช้ขยะอินทรีย์หมัก จากใบผักกาดที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโตและการให้ดอกเพื่อเพิ่มผลผลิตในการปลูกดาวเรืองพันธุ์ทองเฉลิม en_US
dc.title.alternative The effect of different ratios of rganic waste compost from leaves of lettuce that affect growth and flowers to enhance the productivity of planted marigold thongchalerm en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.discipline เกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร en_US
dc.degree.level ปริญญาตรี en_US
dc.degree.name วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) en_US
dc.contributor.emailauthor lertpoom.c@gmail.com en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics