ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

กลไกการพัฒนานักวิจัยเชิงพื้นที่ กรณีศึกษา พื้นที่ชุมชน เทศบาลตำบลหนองเต็ง อำเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ และ ตำบลโคกกลาง อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์

Show simple item record

dc.contributor.author สมมาตร์ ผลเกิด
dc.contributor.author สมมาตร์ ผลเกิด
dc.date.accessioned 2017-12-02T14:13:07Z
dc.date.available 2017-12-02T14:13:07Z
dc.date.issued 2557
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/3402
dc.description.abstract งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพที่มุ่งพัฒนาระบบบริหารจัดการงานวิจัยให้มีคุณภาพสามารถ สนับสนุนการด าเนินงานวิจัยเชิงพื้นที่ได้อย่างเป็นระบบและคล่องตัวสูง โดยมีวัตถุประสงค์การวิจัยดังนี้ เพื่อสร้างกระบวนการพัฒนานักวิจัยเชิงพื้นที่ภายใต้บริบทของมหาวิทยาลัยเพื่อพัฒนาระบบสนับสนุนการ วิจัยเชิงพื้นที่ให้เหมาะสมกับบริบทของมหาวิทยาลัยเพื่อพัฒนาประเด็นโจทย์วิจัยเชิงพื้นที่บนพื้นฐานการ มีส่วนร่วมกับชุมชนเพื่อการยกระดับคุณภาพชีวิตคนในชุมชนด้วยวิธีการ สร้างความร่วมมือกับส านักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ฝ่ายชุมชน ค้าหานักวิจัยร่วมกัน (ทีมนักวิชาการและทีมชาวบ้าน) พัฒนาโจทย์วิจัยโดยลงไปพื้นที่เป้าหมายร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจาก สกว. ร่วมสังเคราะห์ประเด็ นกับพื้นที่ เป้าหมายและผู้เชี่ยวชาญจาก สกว. ร่วมวิพากษ์ประเด็นกับชาวบ้านในพื้นที่ ร่วมกันวิเคราะห์ผลกระทบจาก การด าเนินงานวิจัย เป็นต้น ผลการด าเนินงาน ท าให้ได้งานวิจัยเชิงพื้นที่ที่ คาดว่าจะสามารถน าไป ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ได้จริง และเป็นความต้องการที่จะแก้ไขปัญหาของชาวบ้านให้สามารถน าไป ด าเนินการให้ประสบความส าเร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสร้างการเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นในชุมชนได้ อย่างเป็นรูปธรรมประกอบด้วย 3 โครงการคือ โครงการยกระดับจิตส านึกท้องถิ่นเพื่อการฟื้นฟูป่าชุมชน อย่างยั่งยืน ต าบลโคกกลาง อ าเภอล าปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ โครงการกระบวนการสร้างเสริมสุขภาวะ ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนบ้านหว้า ต าบลหนองเต็ง อ าเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ และโครงการ กระบวนการเสริมสร้างศักยภาพชุมชนจัดการตนเองบนฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชน บ้านเสม็ดต าบลหนองเต็ง อ าเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย en_US
dc.description.abstract งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพที่มุ่งพัฒนาระบบบริหารจัดการงานวิจัยให้มีคุณภาพสามารถ สนับสนุนการดำเนินงานวิจัยเชิงพื้นที่ได้อย่างเป็นระบบและคล่องตัวสูง โดยมีวัตถุประสงค์การวิจัยดังนี้ เพื่อสร้างกระบวนการพัฒนานักวิจัยเชิงพื้นที่ภายใต้บริบทของมหาวิทยาลัยเพื่อพัฒนาระบบสนับสนุนการ วิจัยเชิงพื้นที่ให้เหมาะสมกับบริบทของมหาวิทยาลัยเพื่อพัฒนาประเด็นโจทย์วิจัยเชิงพื้นที่บนพื้นฐานการ มีส่วนร่วมกับชุมชนเพื่อการยกระดับคุณภาพชีวิตคนในชุมชนด้วยวิธีการ สร้างความร่วมมือกับส านักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ฝ่ายชุมชน ค้าหานักวิจัยร่วมกัน (ทีมนักวิชาการและทีมชาวบ้าน) พัฒนาโจทย์วิจัยโดยลงไปพื้นที่เป้าหมายร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจาก สกว. ร่วมสังเคราะห์ประเด็ นกับพื้นที่ เป้าหมายและผู้เชี่ยวชาญจาก สกว. ร่วมวิพากษ์ประเด็นกับชาวบ้านในพื้นที่ ร่วมกันวิเคราะห์ผลกระทบจาก การดำเนินงานวิจัย เป็นต้น ผลการดำเนินงาน ทำให้ได้งานวิจัยเชิงพื้นที่ที่ คาดว่าจะสามารถนำไป ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ได้จริง และเป็นความต้องการที่จะแก้ไขปัญหาของชาวบ้านให้สามารถนำไป ดำเนินการให้ประสบความสำเร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสร้างการเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นในชุมชนได้ อย่างเป็นรูปธรรมประกอบด้วย 3 โครงการคือ โครงการยกระดับจิตสำนึกท้องถิ่นเพื่อการฟื้นฟูป่าชุมชนอย่างยั่งยืน ตำบลโคกกลาง อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ โครงการกระบวนการสร้างเสริมสุขภาวะ ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนบ้านหว้า ตำบลหนองเต็ง อำเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ และโครงการ กระบวนการเสริมสร้างศักยภาพชุมชนจัดการตนเองบนฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชน บ้านเสม็ดตำบลหนองเต็ง อำเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ en_US
dc.description.sponsorship Buriram Rajabhat University en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ระบบสนับสนุน กลไกหนุนเสริม งานวิจัยเชิงพื้นที en_US
dc.subject ระบบสนับสนุน กลไกหนุนเสริม งานวิจัยเชิงพื้นที en_US
dc.title กลไกการพัฒนานักวิจัยเชิงพื้นที่ กรณีศึกษา พื้นที่ชุมชน เทศบาลตำบลหนองเต็ง อำเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ และ ตำบลโคกกลาง อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ en_US
dc.title.alternative A mechanism for development spatial researchers, case study community in Thambon Nongteng, Kasang District Buriram Province and community in Thambon Khograng, Lamphaimat District Buriram Province. en_US
dc.title.alternative A mechanism for development spatial researchers, case study community in Thambon Nongteng, Kasang District Buriram Province and community in Thambon Khograng, Lamphaimat District Buriram Province. en_US
dc.type Research en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics