ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ห่วงโซ่คุณค่าเพื่อสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มผู้ผลิตข้าวกล้อง ในจังหวัดมหาสารคาม

Show simple item record

dc.contributor.author กชนิภา, วานิชกิตติกูล
dc.contributor.author ธารีรัตน์, ขูลีลัง
dc.contributor.author ตะวันรอน, สังยวน
dc.date.accessioned 2019-06-18T04:00:41Z
dc.date.available 2019-06-18T04:00:41Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.citation รมยสาร, ปีที่ 16, ฉบับพิเศษ (ม.ค. - เม.ย. 2561) : หน้า 183 - 199 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/4795
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์1) เพื่อศึกษาห่วงโซ่คุณค่าของกลุ่มผู้ผลิตข้าวกล้องในจังหวัดมหาสารคาม และ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยการสร้างความเข้มแข็งให้แก่กลุ่มผู้ผลิตข้าวกล้องในจังหวัดมหาสารคาม โดยดำเนินการศึกษาวิจัยมีกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่กลุ่มผู้ผลิตข้าวกล้องในเขตจังหวัดมหาสารคาม ที่มุ่งเน้นในการผลิตข้าวกล้องอินทรีย์ ซึ่งเป็นข้าวกล้องปลอดสารเคมีจำนวน 4 กลุ่ม การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการสนทนากลุ่ม ซึ่งผู้เข้าร่วมประกอบด้วย ประธานกลุ่มในการสนทนา จำนวน 4 คน ผู้วิจัยจำนวน 3 คน และผู้ช่วยวิจัยจำนวน 2 คน ใช้ระยะเวลาทั้งสิ้น 3 ชั่ว โมง หลังจากการสนทนากลุ่มเรียบร้อย ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษาพบว่าการสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มผู้ผลิตข้าวกล้องตามแนวคิดห่วงโซ่คุณค่าประกอบด้วย กิจกรรมหลัก และกิจกรรมสนับสนุน อันเกิดจากการสร้างเครือข่าย, การเรียนรู้ ตลอดจนกระบวนการบริหารจัดการภายในกลุ่ม, การสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและประเด็นสำคัญ คือ การนำเสนอเรื่องราวที่เชื่อมโยงระหว่างเรื่องข้าวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อทำการตลาด เป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยให้กลุ่มผู้ผลิตข้าวกล้องเพิ่มศักยภาพทางการบริหารจัดการรวมถึงสร้างความสามารถ ทางการแข่งขัน ภายใต้ภาพแวดล้อม และการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมผู้ริโภค จนในท้ายที่สุด ก่อให้เกิดความเข้มแข็งของกลุ่มและสามารถอยู่รอดต่อไปได้เป็นอย่างดี" en_US
dc.description.abstract This research aims (1) to study value chain of rice producers and (2) to build up community strength of rice producers in Mahasarakham province. The research is conducted using target groups as four rice producers in Mahasarakham province that focus on the organic brown rice producers. The data collection was conducted by focus groups method which participants include four leaders of rice producers, three researchers, two assistant researchers and three hours for focus group discussion. The data analysis performs using content analysis, after the group discussion. The results found that the build up community strength of rice producers according to the value chain concept that consist of primary activities and support activities cause of network creating, learning, internal processing and the supporting from relevant department. Especially, the telling story combines between rice story and local wisdom for marketing that is important factor to help added management potential of rice producers. Moreover, it creates competitive ability under uncertainty environment and the changing consumer behavior and the finally cause the community strength and survival. en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ห่วงโซ่คุณค่าเพื่อสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มผู้ผลิตข้าวกล้อง ในจังหวัดมหาสารคาม en_US
dc.title ห่วงโซ่คุณค่าเพื่อสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มผู้ผลิตข้าวกล้อง ในจังหวัดมหาสารคาม en_US
dc.title.alternative Value Chain to Build up Community Strength of Rice Producers in Mahasarakham Province en_US
dc.title.alternative Value Chain to Build up Community Strength of Rice Producers in Mahasarakham Province en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics