ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ เพื่อศึกษาหาพื้นที่ที่เหมาะสมต่อการฝังกลบขยะมูลฝอย กรณีศึกษา :อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์

Show simple item record

dc.contributor.author จุมพล, วิเชียรศิลป์
dc.date.accessioned 2019-08-09T04:17:36Z
dc.date.available 2019-08-09T04:17:36Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.citation รมยสาร, ปีที่ 13, ฉบับที่ 2 (พ.ค. - ส.ค. 2558) : หน้า 19 - 32 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5272
dc.description.abstract งานวิจัยการใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ เพื่อศึกษาหาพื้นที่ที่เหมาะสม ต่อการฝังกลบขยะมูลฝอย กรณีศึกษา : อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์หาพื้นที่ที่เหมาะสมต่อการฝังกลบขยะมูลฝอยของอำเภอ ลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ และเพื่อศึกษาความคิดเหน็ ของชมุ ชนในทอ้ งถิน่ ตอ่ พืน้ ที่ ฝังกลบขยะมูลฝอยแห่งใหม่ในเขตอำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ วิธีดำเนินการวิจัย โดยการวิเคราะห์ปัจจัยทางด้านชีวกายภาพ และสภาพแวดล้อมทางสังคมวัฒนธรรม ซึ่งมี 10 ปัจจัย ได้แก่ โบราณสถาน แหล่งนํ้าผิวดิน ชุมชน ถนนสายหลัก การใช้ ประโยชน์ที่ดิน ลักษณะของดิน ระดับนํ้าใต้ดิน บ่อนํ้าบาดาล และพื้นที่เสี่ยงนํ้าท่วม โดยใช้กระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ หรือ Analytic Hierarchical Process (AHP) ในการเปรียบเทียบนํ้าหนักของปัจจัยโดยผู้เชี่ยวชาญ 4 คน เนื่องจากปัจจัย แต่ละประเภทมีอิทธิพลต่อพื้นที่เหมาะสมไม่เท่ากัน แบ่งพื้นที่เหมาะสมได้เป็น 5 ระดับ คือ เหมาะสมมากที่สุด เหมาะสมมาก เหมาะสมปานกลาง เหมาะสมน้อย และ ไม่เหมาะสม ผลการวิจัยพบว่า พื้นที่ที่เหมาะสมในการฝังกลบขยะมูลฝอยในอำเภอ ลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ มีเนื้อที่ 54.302 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ33,938.868 ไร่ และประชากรที่ตอบแบบสอบถาม เห็นด้วย ให้มีการสร้างพื้นที่ฝังกลบขยะมากที่สุด จำนวน 1 แห่งจากทั้งหมด 4 แห่งได้แก่ บริเวณ ตำบลหนองบัวโคก พิกัด 271254E 1658041N ซึ่ง มีพื้นที่ 4.25 ตารางกิโลเมตร ห่างจากเทศบาลตำบล ปลายมาศประมาณ 7 กิโลเมตร en_US
dc.description.abstract The research entitled ‘application of geographic information systems on Sanitary Landfill Site Selection: A case study of Lam Plai Mat District, Buriram Province’ aimed to determine suitable areas for sanitary landfill and the opinions of people towards new sanitary landfill site in the area of Lam Plai Mat district, Buriram province. The research methods were used through the analysis of biophysical factors and the social-cultural environmental factors, which included 10 factors, for instance, historic site, main Street, communities, ground water, land use, soil characteristics, groundwater levels, artesian well and flood risk area. An Analytic Hierarchical Process (AHP) was employed to compare the factor weight by 4 specialists because the factors influencing suitable area were different. The suitable areas can be divided into 5 levels: most appropriate, very appropriate, medium appropriate, less appropriate and inappropriate. The results showed that appropriate areas for sanitary landfill in Lam Plai Mat District, Buriram Province, covered an area of 54.302 square kilometers and the respondents agreed with the creation of one area of landfill out of four areas at Nongbuakhok with coordinates : 271254E 1658041N, covering an area of 4.25 square kilometers, which was about 7 kilometers far away from Lam Plai Mat Sub-district Municipality. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject การใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ เพื่อศึกษาหาพื้นที่ที่เหมาะสมต่อการฝังกลบขยะมูลฝอย กรณีศึกษา :อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ en_US
dc.title การใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ เพื่อศึกษาหาพื้นที่ที่เหมาะสมต่อการฝังกลบขยะมูลฝอย กรณีศึกษา :อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ en_US
dc.title.alternative Application of Geographic Information System on Sanitary Landfill Site Selection: A Case Study of Lam Plai Mat District, Buriram Province en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics