ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

ยุทธศาสตร์การนิเทศเพื่อพัฒนาครูในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28

Show simple item record

dc.contributor.author อรุณศักดิ์, เริงนิรันดร์
dc.contributor.author จุฑามาส, ชมผา
dc.contributor.author เสนอ, ภิรมจิตรผ่อง
dc.date.accessioned 2020-08-18T04:25:57Z
dc.date.available 2020-08-18T04:25:57Z
dc.date.issued 2019
dc.identifier.citation มนุษยสังคมสาร ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2562) : หน้า 175-191 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/6821
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษายุทธศาสตร์การนิเทศเพื่อพัฒนาครูใน โรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 แบ่งการวิจัย 3 ขั้นตอน เครื่องมือการวิจัยที่ใช้เป็นแบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม และแบบประเมิน กลุ่มเป้าหมายขั้นตอนที่ 1 ได้แก่ ผู้อำ นวยการ ครู ศึกษานิเทศก์ จำนวน 9 คน ขั้นตอนที่ 2 ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญด้นการนิเทศ จำนวน 14 คน ขั้นตอนที่ 3 ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญด้นการ ประเมิน จำนวน 9 คน การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัย พบว่า ยุทธศาสตร์การนิเทศเพื่อพัฒนาครูในโรงเรียนขนาดเล็ก ประกอบด้วย วิสัยทัศน์ คือ มี ระบบการนิเทศตามมาตรฐานวิชาชีพครู พันธกิจ คือ จัดทำ แผนการนิเทศ เป้าประสงค์คือ ครูมีศักยภาพเป็นผู้นิเทศ และ 9 ยุทธศาสตร์ คือ 1) ทำแผนการนิเทศทั้งระยะสั้นและระยะยาว 2) พัฒนาครูให้เป็นผู้นิเทศ 3) ครูพัฒนาตนเองตามมาตรฐานวิชาชีพ 4) ครูมีทักษะภาษาอังกฤษ และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5) ครูใช้หลักสูตรอย่างมีประสิทธิภาพ 6) ครูมี การวิจัยในชั้นเรียน 7) ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศ 8) สร้างทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ ครู 9) ให้ขวัญและกำลังใจอย่างสม่ำเสมอ ยุทธศาสตร์มีความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ในระดับมากที่สุดทุกด้าน " en_US
dc.description.abstract The purposes of this research were to study the supervision strategies for developing the teachers of the small-sized schools under the Secondary Education Service Area Office 28. The research has been divided into three phases. The target group of the first phase consisted of three directors, three teachers and three education supervisors. The target group of the second phase was composed of 14 experts in education supervision. And the target group of the third phase consisted of nine experts in evaluation. The research tools were interview form, questionnaire, and evaluation form. The research findings revealed that the supervision strategies for developing the teachers of the small-sized schools consisted of vision: supervision system in line with teacher professional standards, mission: making supervision plans, strategic item: teachers with supervision efficiency, and nine strategies: 1) making supervision plan in a short and long terms, 2) development of teachers for being a supervisor, 3) teachers developing themselves based on professional standards, 4) teachers with English and information technology abilities, 5) teachers using curricular effectively, 6) teaching conducting action research, 7) teachers using media and information technology, 8) creation of attitudes towards teacher profession, and 9) establishment of morale and support regularly. Theappropriateness, possibility and utilization of these strategies was found at the highest level in all aspects. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ยุทธศาสตร์การนิเทศเพื่อพัฒนาครูในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 en_US
dc.title ยุทธศาสตร์การนิเทศเพื่อพัฒนาครูในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 en_US
dc.title.alternative Supervision Strategies for Teacher Development of Small-Sized Schools Affiliated to the Secondary Education Service Area Office 28 en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics