ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

การจัดการองค์ความรู้ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่ จังหวัดบุรีรัมย์

Show simple item record

dc.contributor.author รัตนา, ชนัดดา
dc.contributor.author ทะนันไธสง, ณัฐวุฒิ
dc.contributor.author จันทร์พาณิชย์, อาลัย
dc.contributor.author วรรณทอง, ชลาวัล
dc.date.accessioned 2020-09-15T09:14:40Z
dc.date.available 2020-09-15T09:14:40Z
dc.date.issued 2563-05-29
dc.identifier.citation วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 (2563) en_US
dc.identifier.issn 1906-1941
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/7074
dc.description.abstract การจัดการองค์ความรู้ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่ จังหวัดบุรีรัมย์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ความรู้ด้านอนุรักษ์และแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ใช้วิธีการศึกษาแบบมีส่วนร่วม การสังเกต สัมภาษณ์และการจัดเวทีชุมชน พบว่า ภูมิปัญญาของชุมชนบ้านคลองโป่งและบ้านคลองหิน แบ่งออกได้ 2 ประเภท ได้แก่ ภูมิปัญญาด้านความเชื่อพิธีกรรมและด้านวิถีชีวิตวิทยาการ ซึ่งภูมิปัญญาด้านความเชื่อและพิธีกรรมมีทั้งหมด 4 ภูมิปัญญา ได้แก่ พิธีกรรมการบวชป่า การปลูกต้นไม้ในช่วงปริวาสกรรม ความเชื่อด้านเจ้าป่าและความเชื่อเกี่ยวกับผีบรรพบุรุษ ส่วนภูมิปัญญาด้านวิถีชีวิตและวิทยาการในการอนุรักษ์มีทั้งหมด 7 ภูมิปัญญา ได้แก่ การแบ่งพื้นที่ออกเป็นพื้นที่ปลูกพืชและพื้นที่อนุรักษ์ ปลูกพืชไว้เป็นอาหารสัตว์ เพาะชำต้นกล้าไม้คืนสู่ป่า ตั้งชมรมอาสาพิทักษ์ป่า กิจกรรมร่วมกันดับไฟป่า อนุรักษ์แหล่งน้ำธรรมชาติไว้เป็นแหล่งน้ำดื่มของสัตว์ป่าและการประยุกต์ทำเครื่องส่งสัญญาณเสียงเพื่อขับไล่สัตว์ป่า มีแนวทางการจัดการในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทั้งหมด 6 แนวทางด้วยกัน ได้แก่ การจุดประกายพลังชุมชน การสร้างเครือข่าย การพัฒนาแผนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติชุมชน การสร้างการเรียนรู้และมีส่วนร่วมของเยาวชน การบูรณาการร่วมกับหลักศาสนาและการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ en_US
dc.description.abstract The objective of the study entitled “Body of Knowledge on Natural Resources and Environment Conservation in Dong Yai Wildlife Sanctuary, Buriram Province” is to explore body of knowledge on natural resources and environment conservation including conservation approaches. Participatory action research method, observations, interviews, and community forum were used in the study. It was found that the body of knowledge of the Klong Pong village and Klong Hin village communities can be divided into 2 types: 1) beliefs and rituals and 2) lifestyles and disciplinary. The body of knowledge in terms of beliefs and rituals included 4 aspects: forest ordination, planting during parish period, forest lord belief, and ancestor spirits belief. The body of knowledge in terms of lifestyles and disciplinary in conservation consisted of 7 aspects: planting area and conservation area division, planting for animal food, making a plant nursery for planting in forest, establishing a forest protection volunteering club, forest fire suppression activities, natural drinking water resources conservation for wild animals, and wild animal ultrasonic repellent application. There were 6 conservation approaches in total: community power igniting, networking, developing community natural resources management plans, creating learning and participation in the youth, and integrating religion disciplines into education institute curriculum development regarding natural resources conservation. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject ญ : การจัดการ, การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ, เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่ en_US
dc.title การจัดการองค์ความรู้ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่ จังหวัดบุรีรัมย์ en_US
dc.title.alternative Body of Knowledge on Natural Resources and Environment Conserva-tion in Dong Yai Wildlife Sanctuary, Buriram Province en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics