ระบบคลังข้อมูลทางวิชาการ BRU

กระบวนการทำวัฒนธรรมให้เป็นสินค้าการท่องเที่ยวในภาคอีสาน

Show simple item record

dc.contributor.author พิทักษ์, น้อยวังคลัง
dc.date.accessioned 2019-08-09T07:00:49Z
dc.date.available 2019-08-09T07:00:49Z
dc.date.issued 2560
dc.identifier.citation รมยสาร, ปีที่ 14, ฉบับที่ 3 (ก.ย.- ธ.ค. 2559) : หน้า 201 - 208 en_US
dc.identifier.uri http://dspace.bru.ac.th/xmlui/handle/123456789/5322
dc.description.abstract การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการทำวัฒนธรรมให้เป็นสินค้าท่องเที่ยว รูปแบบสินค้าท่องเที่ยว ในภาคอีสาน และเพื่อศึกษาความหมายของสินค้าการท่องเที่ยวจากมุมมองของผู้ผลิต และจากมุมมองของชุมชน ใช้วิธี การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนามจากแหล่งท่องเที่ยว และข้อมูลเอกสาร สื่อสิ่งพิมพ์ นำเสนอ ผลการวิจัยแบบพรรณนาวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่า กระบวนการทำวัฒนธรรมให้เป็นสินค้าท่องเที่ยวในพื้นที่ศึกษามี ลักษณะเฉพาะ โดยมีสถาบันทางสังคมเป็นผู้มีความสัมพันธ์การผลิต การแบ่งหน้าที่ปฏิบัติงาน การร่วมแรงทำงานตาม วิธีการผลิต การครอบครองปัจจัยการผลิต การแบ่งปันผลประโยชน์ และพัฒนาทรัพยากรท่องเที่ยว สินค้าท่องเที่ยวใน ภาคอีสานจำแนกได้ 6 รูปแบบ ได้แก่ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การท่องเที่ยวศาสนา การท่องเที่ยวประวัติศาสตร์ การท่อง เที่ยวโบราณคดี การท่องเที่ยววัฒนธรรม และการท่องเที่ยวประเพณี สังคมอีสานในปัจจุบันมีวิธีการผลิตแตกต่างจาก อดีตซึ่งมีวิถีการผลิตแบบยังชีพ ดังนั้นกระบวนการทางสังคมจึงเป็นผู้ให้ความหมายเพิ่มขึ้นในฐานะผู้ผลิตและผู้บริโภค กำหนดบทบาทหน้าที่สินค้าและบริการ รูปแบบและความหมายใหม่ของหัตถกรรม อาหาร ประเพณี การฉลองสมโภช ล้วนถูกสร้างขึ้นเพื่อตอบสนองในชีวิตประจำวัน ดังนั้นคนกับวัตถุจึงมีความสัมพันธ์ทางสัญลักษณ์ ทางด้านจิตใจ ซึ่ง เป็นความสัมพันธ์ระหว่างความหมายปรนัย กับความหมายเชิงสังคม en_US
dc.description.abstract The objectives of research were to investigate the cultural making process of tourism products, forms of tourism products, and the definition of tourism products reflected by the makers and communities in the Northeast Thailand. The research method used was qualitative. The data collected included documents, fieldwork data, printed materials. The research results presented descriptively and they were as follows: The cultural commodification process of tourism products were made and distributed specifically and characterized. The social institutions involved. All was relation of production, division of labour, a joint-work based on mode of production, procession of the means of production, benefit sharing, and development of tourism. There were 6 model of cultural commodification of tourism products: An eco-tourism, a religious tourism, a historical tourism, an archaeological tourism, a cultural tourism model and a traditional tourism model. Current method of the cultural tourism mode of production in Isan differed from what it used to be in the part. In the part, people had subsistence production. The social process then provided an expansion of meaning being both producers and consumers defining the role of products and services, formats and meaning of handicrafts, food, tradition, and celebration. All was created to meet the needs in everyday life. Man and materials were symbolically related mentally and between objectives and social meanings. en_US
dc.language.iso th_TH en_US
dc.publisher มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ en_US
dc.subject กระบวนการทำวัฒนธรรมให้เป็นสินค้าการท่องเที่ยวในภาคอีสาน en_US
dc.title กระบวนการทำวัฒนธรรมให้เป็นสินค้าการท่องเที่ยวในภาคอีสาน en_US
dc.title.alternative The Commodification of Cultures in the Tourism Industry in Northeast Thailand en_US
dc.type Article en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics